มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัย
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน
๑.๑ การบริหารจัดการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๑ การบริหารอย่างเป็นระบบ
ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๒ การบริหารจัดการบุคลากรทุกประเภทของหน่วยงานทุกสังกัด
ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๓ การบริหารจัดการสภาพแวดล้อมเพื่อความปลอดภัย
ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๔ การจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและการเรียนรู้
ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๕ การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
มาตรฐานด้านที่ ๒ ครู/ผู้ดูแลเด็ก และให้การดูแลจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และการเล่น เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย
ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๑ การดูแลและพัฒนาเด็กอย่างรอบด้าน
ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๒ การส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายและดูแลสุขภาพ
ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๓ การส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญาภาษาและการสื่อสาร
ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๔ ส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์จิตใจสังคมปลูกฝังคุณธรรมและความเป็นพลเมืองดี
ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๕ การส่งเสริมเด็กในระยะเปลี่ยนผ่านให้ปรับสู่การเชื่อมต่อในขั้นถัดไป
มาตรฐานด้านที่ ๓ คุณภาพของเด็กปฐมวัย
ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๑ ข เด็กมีการเจริญเติบโตสมวัยและมีสุขนิสัยที่เหมาะสม
ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๒ ข เด็กมีพัฒนาการสมวัย
ตัวชี้วัดที่ ๓.๓ ข เด็กมีพัฒนาการด้านการเคลื่อนไหว
ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๔ ข เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์จิตใจ
ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๕ ข เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญาเรียนรู้และสร้างสรรค์
ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๖ ข เด็กมีพัฒนาการด้านภาษาและการสื่อสาร
ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๗ ข เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม คุณธรรม มีวินัยและความเป็นพลเมืองดี
มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน
๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
๑) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ
๒) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น และแก้ปัญหา
๓) มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม
๔) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
๕) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
๖) มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน
๑.๒ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
๑) การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด
๒) ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย
๓) การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
๔) สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ
๒.๑ มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน
๒.๒ มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
๒.๓ ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา และทุกกลุ่มเป้าหมาย
๒.๔ พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
๒.๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและ การจัดการเรียนรู้
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
๓.๑ จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
๓.๒ ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้
๓.๓ มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
๓.๕ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
แบบประเมินระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ตามกฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๖๑
องค์ประกอบที่ ๑ การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
๑.๒ การกำหนดค่าเป้าหมายความสำเร็จของแต่ละมาตรฐาน
องค์ประกอบที่ ๒ การจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
๒.๑ ศึกษา วิเคราะห์สภาพปัญหาและความต้องการจำเป็นของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ โดยใช้ข้อมูลตามสภาพจริง
๒.๓ กำหนดวิธีการดำเนินงานกิจกรรมโครงการที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
๒.๕ การใช้งบประมาณและทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพให้สอดคล้องกับกิจกรรมโครงการ
๒.๖ การเสนอแผนพัฒนาการจัดการศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานให้ความเห็นชอบ
๒.๗ การจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
๒.๘ การกำหนดปฏิทินการนำแผนปฏิบัติการประจำปีสู่การปฏิบัติที่ชัดเจน
๒.๙ การนำเสนอแผนปฏิบัติการประจำปีต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานให้ความเห็นชอบ
องค์ประกอบที่ ๓ การดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
๓.๑ การนำแผนปฏิบัติการประจำปีสู่การปฏิบัติตามกรอบระยะเวลาและกิจกรรมโครงการที่กำหนดไว้
องค์ประกอบที่ ๔ การจัดให้มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
๔.๑ การกำหนดผู้รับผิดชอบในการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
๔.๒ การประเมินและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาทั้งระดับบุคคลและระดับสถานศึกษาด้วยวิธีการที่เหมาะสม
องค์ประกอบที่ ๕ การจัดให้มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
๕.๑ การติดตามผลการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพการศึกษา นำไปใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงพัฒนา
องค์ประกอบที่ ๖ การจัดทำรายงานผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
๖.๑ การจัดทำรายงานผลการประเมินตนเองตามมารฐานการศึกษาของสถานศึกษาโดยใช้การประเมินแนวใหม่
๖.๒ การนำเสนอรายงานต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานให้ความเห็นชอบ
๖.๓ การเผยแพร่รายงานต่อสาธารณชน หน่วยงานต้นสังกัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
องค์ประกอบที่ ๗ การจัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง